ภาษาระดับสูง (High-Level Languages)
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า Statements ที่มีลักษณะเป็น
ประโยคภาษาอังกฤษ ทำให้ผู้ที่เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น ผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้และเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงภาษามนุษย์ ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องนั้นมีอยู่ 2 ชนิด ด้วยกัน คือ คอมไพเลอร์ (Compiler) และ อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter)
คอมไพเลอร์ จะทำการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อน แล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น อินเทอร์พรีเตอร์ จะทำการแปลทีละคำสั่ง แล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้น เมื่อทำเสร็จแล้วจึงมาทำการแปลคำสั่งลำดับต่อไป ข้อแตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์กับอินเทอร์พรี เตอร์จึงอยู่ที่การแปลทั้งโปรแกรมหรือแปลทีละคำสั่ง
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต
การทำงานของระบบNองเครือข่ายคอมพิวเตอร์etwork และ Internet
โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1.เครือข่ายเฉพาะที่()
เป็นเครือข่ายที่มักพบเห็นในองค์กรโดยส่วนใหญ่ลักฟษณะของการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นวงLAN จะอยู่ในพื้นที่ใกล้ๆกัน เช่น อยู่ภายในอาคาร หรือ หน่วยงานเดียวกัน
2.เครือข่ายเมือง(Metropolitan Area Network: MAN)
เป็นกลุ่มของเครือข่าย LAN ที่นำมาเชื่อมต่อกันเป็นวงจรที่ใหญ่ขึ้น ภายในบริเวรพื้นที่ใกล้เคียงกันเช่น ในเมืองเดียวกัน เป็นต้น
3.เครือข่ายบริเวณกว้าง (Wide Area Network: WAN)
เป็นเครือข่ายที่ใหญ่ขึ้นในอีกระดับหนึ่ง โดยเป็นการรวมเครือข่าย LAN และ MAN มาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายเดียว ดังนั้นเครือข่ายนี้จึงครอบคุมพื้นที่กว้าง โดยมีการครอบคุมไปทั่วประเทศซ หรือทั่วโลก เช่น อินเทอร์เน็ต ซึ่งถือเป็นเครือข่ายสาธารณะ ที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของ
รูปแบบโคนงสร้างเครือข่าย(Network Topology)
การจัดระบบการทำงานของเครือข่าย มีรูปแบบโครงสรางของเครือข่าย อันเป็นการจัดวางคอมพิวเตอร์และการเดินสายสัญญาณคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย รวมถึง
หลักการไหลเวียนของข้อมูลในเครือข่ายด้วย โดยแบงโครงสร้างเคือข่ายหลักได้ 4 แบบ คือ
1. แบบดาว เป็นแบบการต่อสายเชื่อมโยงโดยการนำสถานีต่างๆมาต่อร่วมกันกับหน่วยสลับสายกลาง กสรติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีจะทำได้ด้วยการติดต่อผ่านทางวงจรของหน่วยสลับสายกลาง การทำงานของกน่วยสลับสายกลาง
ลักษณะการทำงานของเครือข่ายแบบดาว
เป็นการเชื่อมโยงการติดต่อสื่อสารที่มีลักษณะคล้ายรูปดาวหลายแฉก โดยมีสถานีกลาง หรือฮับเป้นเป็นจุดผ่านการติดต่อกันระหว่างทุกโหนดในเครือข่าย สถานีกลางจึงมีหน้าที่เป็นศูนญ์ควบคุมเส้นทางการนื่อสารทั้งหมด นอกจากนี้สถานีกลางยังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางคอยจัดส่งข้อมูลให กับโหนดปลายทางอีกด้วย การสื่อสารภายในเครือข่ายแบบดาวจะเป?นแบบ 2 ทิศทางโดยจะมีอนุญาติให้มีเพียงโหนดเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลเข้าสู่เครือข่ายได้ จึงไม่มีโอกาศที่หลายๆโหนดจะส่งข้อมูลเข้าสู่เครือข่ายในเวลาเดียวกันเพื่อป้องกันการชนของสัญญาณข้อมูลเครือข่ายแบบดาว เป็นรูปแบบเครือข่ายหนึ่งที่เป็นที่นิยมใช้กานในปัจจุบัน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น